วันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

เครื่องราชอิสริยาภรณ์












เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
มี 8 ชั้น โดยแบ่งเป็น บุรุษและสตรี ดังนี้.-
1. ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ 2. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย3. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภร์มงกุฎไทย 4. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย5. ชั้นที่ 4 จตุรถาภร์มงกุฎไทย 6. ชั้นที่ 5 เบฐจมาภร์มงกุฎไทย 7. ชั้นที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย8. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย
1. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (ชั้นสูงสุด)

มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (บุรุษ)
มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (บุรุษ)สวมสายสะพายบ่าซ้ายเฉลียงลงทางขวา ดาราประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย
มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (สตรี)
มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (สตรี)สวมสายสะพายบ่าซ้ายเฉลียงลงทางขวาดาราประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย
2. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (ชั้นที่ 1)


ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (บุรุษ)


ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (บุรุษ)สวมสายสะพายบ่าขวาเฉลียงลงทางซ้าย ดวงดาราประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย

ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (สตรี)
ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (สตรี)สวมสายสะพายบ่าขวาเฉลียงลงทางซ้าย ดวงดาราประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย

3. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) (ชั้นที่ 2)

ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) (บุรุษ)

ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) (บุรุษ)ดวงตราคล้องคอให้แถบอยู่ภายในเสื้อนอกห้อยแลบออกมา ให้ส่วนสูงของดวงตราชิดขอบล่างของคอเสื้อ

ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) (สตรี)
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) (สตรี)ดวงตราห้อยเป็นแพรแถบ เป็นรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย ดาราประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย

4. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) (ชั้นที่ 3)

ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) (บุรุษ)

ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) (บุรุษ)

ดวงตราคล้องคอให้แถบอยู่ภายในเสื้อนอกห้อยแลบออกมา ให้ส่วนสูงของดวงตราชิดขอบล่างของคอเสื้อ
ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) (สตรี)
ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) (สตรี)ดวงตราห้อยเป็นแพรแถบ เป็นรูปแมลงปอ ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย

5. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) (ชั้นที่ 4)
จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) (บุรุษ)

จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) (บุรุษ)
ยศ จ่าสิบเอก (พิเศษ) ได้ บ.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์
ประดับเหนือขอบกระเป๋าอกเสื้อเบื้องซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุมเม็ดที่ ๑
จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) (สตรี)

จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) (สตรี)
ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย

6. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) (ชั้นที่ 5)
เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) (บุรุษ)


เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) (บุรุษ)
ยศ จ่าสิบเอก (พิเศษ) ได้ ร.ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์
ประดับเหนือขอบกระเป๋าอกเสื้อเบื้องซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุมเม็ดที่ ๑
เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) (สตรี)

เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) (สตรี)
ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย

7. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) (ชั้นที่ 6)
เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) (บุรุษ)The Gold Medal of theCrown of Thailand(Sixth Class)

เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) (บุรุษ)
ยศ สิบเอก มีเวลารับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์
ประดับเหนือขอบกระเป๋าอกเสื้อเบื้องซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุมเม็ดที่ ๑
เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) (สตรี)

เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) (สตรี)
ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย
8. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) (ชั้นที่ 7)
เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) (บุรุษ)
The Silver Medal of theCrown of Thailand(Seventh Class)

เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) (บุรุษ)
ยศ สิบตรี มีเวลารับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์

ประดับเหนือขอบกระเป๋าอกเสื้อเบื้องซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุมเม็ดที่ ๑

เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) (สตรี)

เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) (สตรี)
ประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย

วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551